เปิดผลลัพธ์ที่(อาจ)เกิดขึ้นทันที เมื่อกู้เงินต่างประเทศ วันนี้เรายังคงอยู่กันในหัวข้อหนี้สาธารณะ ที่หากใครได้อ่านจากบทความที่แล้วคงจะพอรู้กันแล้วนะ ว่าหนี้สาธารณะคืออะไร มีความสำคัญ และมีความเกี่ยวข้องกับประชาชนในประเทศอย่างไรบ้าง ที่สำคัญถึงแม้ว่าคนในประเทศจะปรับตัวยังไง แต่หากรัฐบาลไร้ซึ่งการควบคุมที่ดี ก็ยากที่จะชำระหนี้สินให้หมดไปในเร็ววัน บวกกับในตอนนี้เกิดวิกฤตโควิด-19 อีก และเป็นที่รู้กันว่ามันไม่ได้นำมาแค่โรคร้าย แต่มันยังนำพาวิกฤตเศรษฐกิจมาให้ประเทศไทยอีกด้วย แต่ทุกคนสงสัยหรือไม่ ว่าประเทศไทยนอกจากจะมีแหล่งยืมเงินภายในประเทศแล้ว ยังไปหยิบยืมเงินจำนวนมหาศาลมาจากแหล่งไหนอีกบ้าง? ใครเป็นผู้ให้กู้ยืม หากคุณสงสัย วันนี้เราจะพาทุกคนไปหาคำตอบด้วยกัน รัฐบาลไทยเป็นหนี้ใครบ้าง กู้เงินต่างประเทศมาจากแหล่งไหน ก่อนอื่นขอบอกก่อนว่าแหล่งเงินกู้ที่เรากำลังจะนำเสนอต่อไปนี้ เป็นแหล่งเงินกู้ที่ประเทศไทย (อ้างอิงจาก
Category: Public Debt
หนี้สาธารณะเกี่ยวข้องกับประชาชนอย่างไร สูงแค่ไหนคือไม่ไหวแล้ว
หนี้สาธารณะให้ผลลัพธ์ทางบวกหรือทางลบมากกว่ากัน หลายคนคงจะรู้สึกสงสัยว่าทำไมตั้งแต่ประเทศไทยเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 เราก็มักจะได้เห็นคำว่า ‘หนี้สาธารณะ’ ปรากฏขึ้นอยู่ตามสื่อและโซเชียลอยู่เป็นประจำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงราว ๆ เดือนพฤษภาคม 2564 ที่มาข่าวว่าคณะรัฐมนตรีได้ลงมติเห็นชอบร่าง พ.ร.ก.กู้เงินฉบับใหม่ขึ้นมา โดยวางวงเงินแรกไว้ 7 แสนล้านบาท ก่อนจะปรับลดลงมาเหลือ 5 แสนล้านบาท แล้วออกเป็น ‘พระราชกำหนดให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและสังคมจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เพิ่มเติม พ.ศ. 2564’ หนี้สาธารณะไม่ใช่เรื่องไกลตัว ควรทำความรู้จักให้มากขึ้น